ขั้นตอนการสืบค้นข้อมูลเบื้องต้น (Preliminary Research) แบบมีส่วนร่วมระหว่างทีมนักศึกษาผู้ออกแบบ กับผู้ประกอบการ โดยใช้แบบสอบถามและแบบสรุป-สัมภาษณ์ ทำการวินิจฉัยเพื่อให้ได้ทราบสภาพปัจจุบันและปัญหา จุดอ่อน-จุดแข็ง จุดเด่นของผลิตภัณฑ์และบริการ เพื่อได้ทราบความต้องการ และแนวทางเพื่อการออกแบบพัฒนา (Research for Design Briefs and Development Solutions)
ภาพที่1 Moodboard เพื่อสรุปประเด็นการออกแบบครอบคลุมกระบวนการผลิตจริง
ที่มารูปภาพ: นางสาวชลลดา เปลี่ยนแสงศรี กลุ่ม iherb ,2557
|
การสืบค้นข้อมูลประกอบการนำเสนอการออกแบบพัฒนา
ภาพที่2 ผลิตภัณฑ์สินค้าแชมพูสมุนไพรสูตรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด รุ่นแบบเดิม ที่เลือกนำมาพัฒนาบรรจุภัณฑ์ |
1. ข้อมูลพื้นฐาน
ผู้ประกอบการ: กลุ่มแม่บ้านท่าทรายประธานกลุ่ม: นางปาน เอี่ยมสุภา
ที่อยู่: 169 หมู่1 ตำบลบางหลวง อำเภอสรพพยา จังหวัดชัยนาท 17150
เบอร์โทรศัพท์: 056 401 004
สินค้าOTOPประเภท: ประเภทสมุนไพรที่ไม่ใช่อาหารและยา
ชนิดของสินค้า: ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางค์ผสมสมุนไพร
-แชมพูสมุนไพร ว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด
ประเภทเครื่องสำอางค์: สำหรับศรีษะ
สถานะของผลิตภัณฑ์: แชมพูสมุนไพร มีสถานะเป็นของเหลว
บรรจุภัณฑ์:
แชมพูเนื้อใสโปร่งแสงบรรจุในขวดพลาสติก(HDPE)ทรงสูงแบน สีขาวขุ่น ฝาเกลียวชนิดหมุน
เส้นผ่าศูนย์กลาง 3.5 ซม. กว้าง 8 ซม. สูง19.5ซม.
ฉลากด้านหน้า ระบุ:
บ้านท่าทราย
แชมพูผสมสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด
ฉลากด้านหน้า ระบุ:
บ้านท่าทราย
แชมพูผสมสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด
ฉลากด้านหลัง ระบุ:
แชมพูผสมสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด
วิธีใช้ เพียงสระให้ทั่วแล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด สระได้ตามความต้องการ
ส่วนผสม ว่านหางจระเข้ มะกรูด ลาโนลีน
ผลิตโดย กลุ่มแม่บ้านท่าทราย หมู่ที่1 ตำบลบางหลวง อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 17150
ปริมาณสุทธิ 300 มล.
ความดี-สรรพคุณ:
ดูเงาเป็นธรรมชาติ และหวีจัดทรงง่าย
วิธีใช้ผลิตภัณฑ์:
เพียงสระให้ทั่ว แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด สระได้บ่อยครั้งตามความต้องการ
ข้อมูลทั่วไป ประวัติ:
หมู่บ้านท่าทราย ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา เมื่อเสร็จสิ้นฤดูทำนา
จีงเกิดการว่างงาน ซึ่งในเวลานั้น หน่วยงานราชกาารได้เข้ามาสนับสนุน
การส่งเสริมอาชีพในหมู่บ้าน โดยจัดตั้งกลุ่มแม่บ้านขึ้นในปี พ.ศ.2553 มีสมาชิก
แรกเข้าเพียง 20 คน และมีการส่งเสริมพัฒนาขึ้นจนในปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 200 คน
ข้อมูลการผลิตสินค้า:
แรกเริ่มผลิตแชมพู และครีมนวดผมว่านหางจระเข้ผสมสมุนไพรต่างๆ เช่น
มะกรูด อัญชัน และประคำดีควาย ต่อมาได้มีการเพิ่มผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
ชนิดอื่นๆด้วย คือครีมอาบน้ำผสมสมุนไพรขมิ้น ครีมทาผิวผสมสมุนไพรขมิ้น
และผลิตภัณฑ์ล่าสุดที่กลุ่มแม่บ้านเริ่มผลิตและจำหน่ายคือสบู่รังไหม
- จำหน่ายตามร้านค้าทั้งไปภายในจังหวัด
- จำหน่ายตามการสั่งซื้อทาง รสพ. และพัสดุไปรษณีย์
- ออกร้านตามงานสำคัญต่างๆที่หน่วยงานราชการและภาคเอกชนขัดขึ้น
- ผลิต สั่งทำ จัดส่ง และจัดจำหน่าย
2.2 ราคาจำหน่าย:
- ขายปลีก ราคาขวดละ 45 บาท
เพียงสระให้ทั่ว แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด สระได้บ่อยครั้งตามความต้องการ
ข้อมูลทั่วไป ประวัติ:
หมู่บ้านท่าทราย ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา เมื่อเสร็จสิ้นฤดูทำนา
จีงเกิดการว่างงาน ซึ่งในเวลานั้น หน่วยงานราชกาารได้เข้ามาสนับสนุน
การส่งเสริมอาชีพในหมู่บ้าน โดยจัดตั้งกลุ่มแม่บ้านขึ้นในปี พ.ศ.2553 มีสมาชิก
แรกเข้าเพียง 20 คน และมีการส่งเสริมพัฒนาขึ้นจนในปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 200 คน
ข้อมูลการผลิตสินค้า:
แรกเริ่มผลิตแชมพู และครีมนวดผมว่านหางจระเข้ผสมสมุนไพรต่างๆ เช่น
มะกรูด อัญชัน และประคำดีควาย ต่อมาได้มีการเพิ่มผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
ชนิดอื่นๆด้วย คือครีมอาบน้ำผสมสมุนไพรขมิ้น ครีมทาผิวผสมสมุนไพรขมิ้น
และผลิตภัณฑ์ล่าสุดที่กลุ่มแม่บ้านเริ่มผลิตและจำหน่ายคือสบู่รังไหม
2. ข้อมูลการตลาดของสินค้า
2.1 การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ และการผลิตในปัจจุบัน:
- วางเรียงจำหน่าย ณ ที่ทำการกลุ่มแม่บ้านท่าทราย- จำหน่ายตามร้านค้าทั้งไปภายในจังหวัด
- จำหน่ายตามการสั่งซื้อทาง รสพ. และพัสดุไปรษณีย์
- ออกร้านตามงานสำคัญต่างๆที่หน่วยงานราชการและภาคเอกชนขัดขึ้น
- ผลิต สั่งทำ จัดส่ง และจัดจำหน่าย
2.2 ราคาจำหน่าย:
- ขายปลีก ราคาขวดละ 45 บาท
- ขายส่ง(12ขวด) ราคาขวดละ 40 บาท
3. ปัจจุบันสภาพ/ปัญหาที่เกิดขึ้น/ความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์
- สินค้ามีคุณภาพ เป็นที่รู้จัก และวางจำหน่ายมายาวนานกว่า 20 ปี
- ว่างหางจระเข้สามารถปลูกได้น้อยลงเนื่องจากประสบปัญหาอุทกภัยในปีพ.ศ 2554
- ต้องการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ผู้พบเห็นเกิดความสนใจมากยิ่งขึ้น
3.2 ผลิตภัณฑ์คู่แข่งทางการค้าในพื้นที่
- แชมพู ครีมนวดผม ครีมอาบน้ำ สมุนไพรของกลุ่มแม่บ้านสวนลำไย (ผลิตตามเทศกาล)
3.3 ความต้องการในการออกแบบพัฒนา ผลิตภัณฑ์เดิม / สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ / บรรจุภัณฑ์
เดิมรูปแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ กราฟิกอัตลักษณ์ เช่น โลโก้ ภาพประกอบ การโฆษณา ฯลฯ- ต้องการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สวยงามมากขึ้น โดยคงโลโก้ต้นฉบับ และมีต้นทุนการผลิตเท่าเดิม
และศึกษาเป็นต้นแบบ คือ
4.1 โครงสร้าง (Structure) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์จริง
- แชมพูผสมสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด(แบบเดิม) 1 ขวด
- แชมพูผสมสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด(แบบใหม่) 1 ขวด
4.2 ข้อมูลที่ได้มาเพื่อทำการศึกษาต่อ
- หนังสือคู่มือ 1 เล่ม
ส2.สร้างสรรค์ตามสมติฐาน(Resume)
4.1 โครงสร้าง (Structure) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์จริง
- แชมพูผสมสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด(แบบเดิม) 1 ขวด
- แชมพูผสมสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด(แบบใหม่) 1 ขวด
4.2 ข้อมูลที่ได้มาเพื่อทำการศึกษาต่อ
- หนังสือคู่มือ 1 เล่ม
ภาพที่3 การลงพื้นที่สำรวจ และบันทึกข้อมูลผลิตภัณฑ์แชมพูสมุนไพรของกลุ่มแม่บ้านท่าทราย (ที่มา: ชลลดา เปลี่ยนแสงศรี กลุ่มiherb,2557) |
ภาพที่4 สมาชิกกลุ่มiherbถ่ายภาพร่วมกับสมาชิกกลุ่มแม่บ้านท่าทราย (ที่มา: ชลลดา เปลี่ยนแสงศรี กลุ่มiherb,2557) |
ภาพที่5 สมาชิกกลุ่มiherb ถ่ายภาพร่วมกันประธานกลุ่มแม่บ้านท่าทราย พร้อมผลิตภัณฑ์ (ที่มา: ชลลดา เปลี่ยนแสงศรี กลุ่มiherb,2557) |
ส2.สร้างสรรค์ตามสมติฐาน(Resume)
การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ด้วยวิธีการสังเกตและรับรู้ทางการมอง
(Product and Package Visual Analysis)
ภาพที่6 ส่วนประกอบของบรรจุภัณฑ์สินค้าที่มองเห็นของแชมพูสมุนไพร ว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด ตราบ้านท่าทราย
ที่มา: ชลลดา เปลี่ยนแสงศรี,2557
(ด้านหน้า)
หมายเลข1 คือ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ ในที่นี้คือวัสดุที่เป็นขวดพลาสติกชนิดขุ่น(HDPE)
หมายเลข2 คือ ระบบการเปิดปิดขวดบรรจุภัณฑ์โดยฝาเกลียวหมุน
หมายเลข3 คือ เทคนิคการประทับอัตลักษณ์สินค้า และข้อความบนบรรจุภัณฑ์เพื่อการสื่อสาร
หมายเลข4 คือ อัตลักษณ์สินค้า
หมายเลข5 คือ ข้อความแสดงชื่อยี่ห้อสินค้า
หมายเลข6 คือ ข้อความบ่งชี้ประเภทของสินค้า
หมายเลข7 คือ ข้อความบ่งชี้ชนิดของสินค้า
(ด้านหลัง)
หมายเลข8 คือ ข้อความบ่งชี้ประเภทของสินค้า
หมายเลข9 คือ ข้อความบ่งชี้ชนิดของสินค้า
หมายเลข10 คือ สื่อรูป-ภาพกราฟิก-ประกอบการสื่อความหมายร่วม
หมายเลข11 คือ วิธีใช้
หมายเลข12 คือ ข้อมูลแจ้งส่วนผสมสำคัญของสินค้า
หมายเลข13 คือ สื่อรูป-ภาพกราฟิก-ประกอบการสื่อความหมายร่วม
หมายเลข14 คือ ข้อมูลแจ้งเกี่ยวกับผู้ผลิตสินค้า
หมายเลข15 คือ ปริมาตร-น้ำหนักสินค้า
ส2.สรุปผลการออกแบบ(Result)
ส2.สรุปผลการออกแบบ(Result)
ภาพที่7 ภาพการแสดงงานพร้อมผลงานจริงการออกแบบพัฒนากราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ แชมพูสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด บ้านท่าทราย จังหวัดชัยนาท โดย นางสาวชลลดา เปลี่ยนแสงศรี |
ภาพที่8 ภาพแผนผังสรุปการดำเนินงานการออกแบบพัฒนากราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ แชมพูสมุนไพรว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด บ้านท่าทราย จังหวัดชัยนาท โดย นางสาวชลลดา เปลี่ยนแสงศรี |
No comments:
Post a Comment